วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่16

บันทึกอนุทินครั้งที่16
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20


         แต่วันนี้คือการเรียนชดเชยเป็นการเรียนในวันจันทร์ ที่27 เมษายน 2558

วันนี้เป็นการออกมาร้องเพลง ซึ่งเป็นเพลงที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยแต่ล่ะเพลงอาจารย์ได้สอนร้อง

มาก่อนหน้านี้แล้ว  

ซึ่งเพลงที่ดิฉันร้อง คือเพลง ดวงจันทร์

         ดวงจันทร์ทอแสงนวนใย

        สุกใสอยู่ในท้องฟ้า

          เราเห็นดวงจันทร์ทรา

แสงพราวตาเวลาคํ่าคืน
             

        

การประเมิน

ตนเอง ตั้งใจเรียนและฟังเพื่อนๆร้องเพลงแต่ดิฉันน่าจะร้องเพลงได้ดีกว่านี้เพราะเป็นเพลงที่ง่ายมากเพลงสั้นแต่ดิฉันจําเนื้้อเพลงไม่ได้ทั้งหมด(ผิดหวังกับตัวเองค่ะน่าจะทําได้ดีกว่านี้)

เพื่อน เพื่อนๆก็ตั้งใจฟังเพื่อนๆคนอื่นร้องเพลงและมีส่วนร่วมในการร้องเพลงของเพื่อนบางส่วน

อาจารย์ อาจารย์น่ารักมากค่ะมีทั้งเรื่องดีๆมาเล่าสู้นักศึกษาฟังขอบคุณน่ะค่ะอาจารย์ที่มอบสิ่งดีๆให้รักอาจารย์น่ะค่ะ

วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่15

บันทึกอนุทินครั้งที่15
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20





        ความรู้ที่ได้รับ
  

  แผน IEP
  • แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
  • เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ล่ะคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะกับความต้องการ
  • การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
  • โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก


การเขียนแผน IEP

  •  คัดแยกเด็กพิเศษ
  • ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
  •  ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะและต้องทําให้ทราบว่าต้องช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน
  • เด็กสามารถทำอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
  • แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP

IEP ประกอบด้วย

  • ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
  •  ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
  • การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
  •  เป้าหมายระยาวประจำปี ระยะสั้น
  •  วิธีการประเมินผล



ประโยชน์ต่อเด็ก

  •  ได้เรียนรู้ความสามารถของตน
  •  ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ
  • ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องเหมาะสม

ประโยชน์ต่อครู
  • เป็นนวทางในการจัดการเรียนสอนที่ตรงกับความสามารถของความต้องการของเด็ก
  • เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนให้เหมาะกับเด็ก
  •  ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลง
  •  เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
  •  ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
  •  ได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล
  •  ทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนอย่างไร


จุดมุ่งหมายระยะสั้น

  • ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายของเด็ก
  • เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3วัน
  • จะสอนใคร
  •  พฤติกรรมอะไร
  • ไหร่ที่ไหน
  •  พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
 การใช้แผน
  •  เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยใช้แผนระยะสั้น
  • นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
  • แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
  • จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 การประเมินผล
  • โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
  • ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัด
  • การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกั
การทำ IEP
1. การรวบรวมข้อมูล
2. การจัดทำแผน
3. การใช้แผน
4. การประเมิน
   


การประเมิน

ตนเอง ตั้งใจเรียนค่ะเพราะครั้งที่แล้วหยุดไปครั้งนี้ต้องขยันเป็นพิเศษ

เพื่อน เพื่อนๆก็ตั้งใจเรียนและและทํางานที่ตนเองได้รับมอบหมายอาจมีคุยกันบ้าง

อาจารย์ สอนได้ระเอียดและเข้าใจ มีการยกตัวอย่างกิจกรรมประกอบด้วยค่ะเพื่อที่เราจะเข้าใจและเขียนได้

บันทึกอนุทินครั้งที่14

บันทึกอนุทินครั้งที่14
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 16 เมษายน 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20







                    ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึออนุทินครั้งที่13

บันทึกอนุทินครั้งที่13
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20






                 วันนี้ดิฉันลากลับต่างจังหวัดค่ะ

วันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่12

บันทึกอนุทินครั้งที่12


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 23/03/58
เวลาเรียน 8:30-12:20 กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี


                         วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะเนื่องจากเมื่อวานมีการแข่งขันกีฬาคณะศึกษาศตร์

วันนี้อาจารย์เลยให้นักศึกษาหาความรู้นอกห้องเรียนและเป็นการพักผ่อนไปในตัวค่ะ


                                               ภาพกิจกรรมกีฬาสี


บันทึกอนุทินครั้งที่11

บันทึกอนุทินครั้งที่11




วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 16/03/58
เวลาเรียน 8:30-12:20 กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี




วันนี้เป็นการสอบเก็บคะแนน เป็นข้อเขียน ทั้งหมด5ข้อ เต็ม10คะแนน ข้อสอบเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียนกันมา เรื่องของพฤติกรรมในแบบต่างๆ เราจะมีวิธีแก้ไขหรือดูแลเด็กอย่างไรเพื่อพัฒนาการที่ดีขึ้นของเด็ก

บันทึกอนุทินครั้งที่10

บันทึกอนุทินครั้งที่10


         วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 19/03/58
เวลาเรียน 8:30-12:20 กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี



ความรู้ที่ได้รับ


ทักษะการช่วยเหลือตนเองของเด็กเรียนร่วม
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากขึ้นที่สุด การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวันด้วยตนเอง

การสร้างความอิสระ
  • เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
  • อยากทำงานความสามารถ
  • เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือ ตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่
  • ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
  • การได้ทำด้วยตนเอง
  • เชื่อมั่งในตนเอง
  • เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
  • ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น 
  • ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป 
  • ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
  • หนูทำช้า หนูยังทำไม่ได้
จะช่วยเมื่อไหร่
  • เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
  • หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว 
  • เด็กรู้สึกยังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
  • มักช่วยเด็กในช่วยกิจกรรม
  • เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร หงุดหงิด เบื่อ ไม่ค่อยสบาย
  • หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่เด็กเรียนรู้ไปแล้
สรุป
  • ครูต้องพยายามให้เด็กทำสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
  • ย่อยงานแต่ละอย่างเป็นขั้นๆ
  • ความสำเร็จขั้นเล็กๆนำไปสู่ความสำเร็จทั้งมวล
  • ช่วยให้เด็กมีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น
  • เด็กพึ่งตนเองได้ รู้สึกเป็นอิสระในการทําอะไรหลายๆอย่าง
 ต่อมาก็กิจกรรมศิลปบําบัด 

ภาพกิจกรรม
























 การประเมิน
ตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนและฟังอาจารย์ มีส่วนร่วมในการตอบ
เพื่อน : ตั้งใจทำงาน ที่ตนเองได้รับมอบหมายและฟังอาจารย์เวลาอาจารย์สอนอาจมีคุยกันบ้าง
อาจารย์ : อาจารย์ได้สอน การส่งเสริมทักษะต่างๆ พร้อมอธิบายและยกตัวอย่างอย่างเข้าใจและยังมีเกมส์ให้เล่นก่อนเข้าสู้บทเรียน ขอบคุณน่ะค่ะ

วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่9

บันทึกอนุทินครั้งที่9


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  12 มีนาคม 2558
เรียนครั้งที่ 9 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี

           ความรู้ในวันนี้
   การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

 ทักษะภาษา

การวัดความสามารถของภาษา

  • เข้าใจในสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม
  • ตอบสมองเมื่อมีผู้คนพูดด้วยไหม
  • ถามหาสื่งต่างๆไหม
  • บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆไดไหม
           การออกเสียง/ พูดไม่ชัด

  • การพูดตกหล่น
  • การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียงหนึ่ง
  • ติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
  • ไม่สนใจการพูดซํ้าหรือออกเสียงไม่ชัด
  • ห้ามบอกเด็กว่า พูดช้า  ตามสบาย คิดก่อนพูด 
  • ห้ามขัดจังหวะขณะเด็กพูด
  • อย่าเปลี่ยนใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
  • ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
  • ทักษะการรับรู้ภาษา
  • การแสดงออกทางภาษา
  • การสื่อสารความหมายโดยไม่ใช้คําพูด
ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย

  • การรับรู้ภาษาก่อนการแสดงออกทางภาษา
  • ภาษาที่ไม่ใช้คําพูดมาก่อนภาษา
  • ให้เวลาเด็กได้พูด
  • คอยใหเด็กตอบ (ชี้แนะหากจําเป็น)
  • ครูไม่พูดมากเกินไป
กิจกกรมต่อมาคืองานศิลปะ ศิลปะบําบัดโดยใช้สีเทียนในการสร้างสรรค์ผลงาน



บันทึกอนุทินครั้งที่8


    บันทึกอนุทินครั้งที่8

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี  05 มีนาคม 2558
เรียนครั้งที่ 8 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี



       วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน ศึกษานอกห้องเรียน


ประเมินตนเอง
    
      ตนเอง= ทําให้วันนี้ได้ทํางานที่ค้างให้เรียบร้อย

      อาจารย์ = ขอบคุณอาจารย์ที่วันนี้ได้ให้ศึกษานอกห้องเรียนเพราะทําให้ได้ทําการบ้านและงาน

วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่7


บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 26 02 2558
เรียนครั้งที่ 6 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี






                                                  วันนี้สอบกลางภาคค่ะ





บันทึกอนุทินครั้งที่6


บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤน แจ่มถิ่น
วัน/เดือน/ปี 19/02/58
เรียนครั้งที่ 6 เวลาเรียน 8:30-12:20
กลุ่ม 101 วันพฤหัสบดี



 วันนี้หนูไม่ได้มาเรียนค่ะลากับต่างจังหวัดไปงานบวช น้องชายค่ะ

บันทึกอนุทินครั้งที่5

บันทึกอนุทินครั้งที่5
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20



ความรู้ที่ได้รับ

ก่อนเข้าสู่บทเรียนอาจารย์ได้ให้ถุงมือคนล่ะข้างแล้วให้ใส่ในข้างที่ไม่ถนัดแล้วให้วาดรูปมือของตัวเองว่าเรสจะจํามือเราได้ไหม มือนี้อยู่กับเรามาก็หลาย10ปีใส่ถุงมือเพื่อไม่ให้แอบดู แล้วก็เข้าสู่บทเรียน

 การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ


ทักษะของครูและทัศนคติ

การฝึกเพิ่มเติม
  • อบรมระยะสั้น สัมมนา
  •  สื่อต่างๆ
การเข้าใจภาวะปกติ
  • ครูต้องเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
  •  รู้จักเด็กแต่ละคน
  •  มองเด็กให้เป็น ''เด็ก''การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า 
  • การเข้าใจพัฒนาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
  • วุฒิภาวะ
  • แรงจูงใจ
  • โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ
  • .ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
  • เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
  • ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
  • ครูต้องมีความสนใจเด็ก
  • ครูต้องมีความรู้สึกดีต่อเด็ก
  • ครูต้องมีอุปกรณ์และกิจกรรมล่อใจเด็ก
  • ครูต้องใช้เวลาในการติดต่อไม่นาน
อุปกรณ์
  • มีลักษณะง่ายๆ
  • ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
  • เด็กพิเศษได้เรียนรู้จากการสังเกตและเลียนแบบเด็กปกติ
ตารางประจำวัน
  • เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยู่ประจำ
  • กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอนและทำนายได้
  • เด็กจะรู้สึกและมั่นใจ
  • คำนึงความพอเหมาะของเวลา
การใช้สหวิทยาการ
  • ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
  • สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้
  • เด็กทุกคนสอนได้
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการใช้แรงเสริม
  • ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
  • มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็กและมักเป็นผลในทันที
  • หากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมที่ดีนั้นๆก็จะลดลงหายไป
วิธีการแสดงออกถึงแรงจากผู้ใหญ่
  • ตอบสนองด้วยวาจา
  • การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
  • สัมผัสทางกาย
หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย
  • ครูต้องให้แรงเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์
  • ครูควรให้ความสนใจเด็กนานเท่าที่เด็กมีพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
การแนะนำหรือบอกบท
  • ย่อยงาน
  • ลำดับความยากง่ายของงาน
  • การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
  • สังเกตและกำหนดจุดมุ่งหมาย
  • วิเคราะห์งานกำหนดจุดประสงค์ย่อยๆในงานแต่ละชิ้น
  • สอนจากง่ายไปยาก
  • ให้แรงเสริมเฉพาะพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่สุด
การกำหนดเวลา
  • จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องการมีความเหมาะสม
การลดหรือหยุดแรงเสริม
  • ครูจะงดแรงเสริมเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
  • ทำอย่างอื่นและไม่สนใจเด็ก
  • เอาอุปกรณ์หรือของเล่นออกไปจากเด็ด
รูปที่ทํากิจกรรม





ประเมินในชั้นเรียน

ตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา และตั้งใจทํางานที่ได้รับมอบหมายถึงงานวาดรูปหนูจะไม่ถนัดแต่หนูก็ตั้งใจทําอย่างเต็มที่ค่ะ
เพื่อน : ตั้งใจทำงาน  ช่วยกันตอบคำถามและตั้งใจเรียนปกติจะอยากเลิกเรียนเร็วแต่วันนี้อยากเลิกเรียนช้า
อาจารย์ : อาจารย์ได้สอน บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวม และยกตัวอย่างบทบาทความเป็นครูปฐมวัย

บันทึกอนุทินครั้งที่4

บันทึกอนุทินครั้งที่4

การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20


ความรู้ที่ได้รับ


               ในสัปดาห์ที่4นี้อาจารย์ก็ได้สอนเกี่ยวกับเรื่อง บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวม แต่ก่อนเข้าสู้การเรียนการสอนก็มีกิจกรรมมาให้ทําก่อนคือการวาดรูปดอกหางนกยูงโดยวาดให้เหมือนที่สุด ต่อมาก็ให้อธิบาย บทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวม อาจารย์ก็ได้อธิบายได้อย่างละเอียดพร้อมยกตัวเอง เช่น


1. ครูไม่ควรวินิจฉัย



  •  การวินิจฉัย หมายถึง การตัดสินใจโดยดูจากอาการหรือสัญญาณบางอย่าง


  • จากอาการที่แสดงออกมานั้นอาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดก็ได้ครูไม่สามารถรู้อาการที่เด็กแสดงออกมา


  • ได้ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้วินิจฉัย



2. ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก

  • เกิดผลเสียมากกว่าผลดี


  •  ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวเด็กตลอดไป

3. ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ


  • พ่อแม่ของเด็กพิเศษมักทราบดีว่าลูกของเขามีปัญญญ

  •  พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูมาย้ำในสิ่งที่เขารู้อยู่แล้ว

  •  ครูควรพูดในสิ่งที่เป็นความคาดหวังในด้านบวก แต่ต้องไม่ให้เกิดความหวังผิดๆ



4. ครูทำอะไรบ้าง


  • ครูสามารถชี้ให้เห็นถึงพฤติกรรมของเด็กในเรื่องที่เกี่ยวกับพัฒนาการต่างๆ


  •  สังเกตเด็กอย่างมีระบบ


  • จดบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นช่วงๆ


5. สังเกตอย่างมีระบบ


  •  ไม่มีใครสามารถสังเกตอย่างมีระบบได้ดีกว่า
  •  ครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆช่วงเวลายาวนานกว่า
  • ต่างจากแพทย์ นักจิตวิทยา นักคลีนิค มักมุ่งความสนใจอยู่ที่ปัญหา

6. การตรวจสอบ

  • จะทราบว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
  •  เป็นแนวทางสำคัญที่ทำให้ครูและพ่อแม่เข้าใจเด็กดีขึ้น

7. ข้อควรระวังในการปฎิบัติ

  •  ครูต้องไวต่อความรู้สึกและตัดสินใจล่วงหน้าได้
  •  ประเมินและให้น้ำหนักของความสำคัญเรื่องต่างๆได้


8. การบันทึกการสังเกต
  • การนับอย่างง่ายๆ
  • การบันทึกต่อเนื่อง
  •  การบันทึกไม่ต่อเนื่อง

9. การนับอย่างง่ายๆ

  •  นับจำนวนครั้งของการเกิดพฤติกรรม
  • ระยะเวลาในการเกิดพฤติกรรม


10. การบันทึกต่อเนื่อง

  •  ให้รายละเอียดได้มาก
  •  เขียนทุกอย่างที่เด็กทำในช่วงเวลาหนึ่ง หรือช่วงกิจกรรมหนึ่ง


11. การบันทึกไม่ต่อเนื่อง

  •  บันทึกลงบัตรเล็กๆ

12. การเกิดพฤติกรรมบางอย่างมากเกินไป



  • ควรเอาใจใส่ถึงระดับความมากน้อยของความบกพร่องมากกว่าชนิดของความบกพร่อง
  •  พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่พบได้ในเด็กทุกคน ไม่ควรจัดเป็นสิ่งผิดปกติ


13. การตัดสินใจ


  • ครูต้องตัดสินใจด้วยความระมัดระวัง
  •  พฤติกรรมของเด็กที่เกิดขึ้น ไปขัดขวางความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กหรือไม่


รูปที่ทํากิจกรรม








บันทึกอนุทินครั้งที่3

บันทึกอนุทินครั้งที่3
การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม 2558
กลุ่ม 101 เวลา 08:30-12.20






            "ในสัปดาห์นี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ เนื่องจากวันนี้อาจารย์ไปสัมมนาวิชาการบริหารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา อาจารย์จึงให้ไปศึกษาหาความรู้นอกห้องนอกชั้นเรียน

วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่2



บันทึกอนุทินครั้งที่2


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมกับเด็กปฐมวัย

วันพฤหัสบดี ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 08.30-12.20



                         วันนี้เรียนการเรียนรูปแบบการจัดการศึกษา
  • การศึกษาปกติทั่วไป regular Education
  • การศึกษาแบบพิเศษ special Education
  • การศึกษาแบบร่วม lntegrated Education
  • การศึกษาแบบเรียนรวม lnclusive Education
   
           การที่เราจะจัดการศึกษาสําหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เด็กที่มีความต้องการพิเศษทุกคนเค้าสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าเค้าได้รับโอกาศที่เหมาะสมกับความต้องการของเค้า


      ความหมายของการศึกษาแบบร่วม
     
  •             การจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไปหรือว่าเรานําเด็กเข้าไปเมื่อโรงเรียนจัด

กิจกรรม กิจกรรมที่ใช้อาจจะใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ คุณครูต้องดูด้วยว่าเด็กคนนั้นเหมาะกับกิจ

กรรมไหน
  •          การเรียนร่วมบางเวลา การจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติในบางเวลา
       ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม

  • เป็นการศึกษาสําหรับทุกคน
  • รับเด็กเข้ามาเรียนตั้งแต่เริ่มเข้าการศึกษา
  • เด็กมีสถานะเป็นเด็กนักเรียนของโรงเรียนนั้น
ความสําคัญของการศึกษาแบบเรียนรวม


  •  เด็กปฐมวัยเป็นช่วงเวลาสําคัญ
  • สอนได้

      สรุปได้ตามความเข้าใจของดิฉันคือ การศึกษาแบบเรียนร่วมคือการที่เรานําเด็กที่มึพัฒนาการ

บกพร่องไปเรียนร่วมกับเด็กปกติในบางครั้ง บางเวลา บางกิจกรรมไม่ได้ไปเรียนทั้งวัน

    ส่วนการศึกษาแบบเรียนร่วมคือ การที่เด็กที่มีพัฒนาการบกพร่องเข้าไปเรียน ไปอยู่รวมในห้องเดียวกัน

กับเด็กปกติเรียนอยู่ด้วยกันทั้งวันไม่ใช่แค่บางเวลา ทําทุกขั้นตอนเหมือนเด็กปกติทั่วไปเริ่มตั้งแต่การ

สมัคเรียนเหมือนเด็กปกติทั่วไปเด็กพิเศษเค้าสามารถเรียนกับเด็กปกติได้




การประยุกต์และนําไปใช้

เราสามารถนําสิ่งที่เราเรียนมาไปพัฒนาเด็กพิเศษได้ เช่นการให้โอกาศเค้าได้ทํางานหรือทํากิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆที่ปกติโดยไม่มีการแบ่งแยก


การประเมินผล
ตนเอง
ตั้งใจเรียนและตั้งใจทํางานของตนเองมีส่วนร่วมในการตอบคําถามและการทํากิจกรรม ร้องเพลง

เพื่อน
 
วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนแต่ก็มีเสียงดังบางค่ะเพราะเรียนร่วมกัน2กลุ่ม
อาจารย์
                วันนี้อาจารย์สอนสนุกและยังให้คําปรึกษาที่ดี ทั้งๆเรียนที่ปรึกษาไม่ใช่วิชาของอาจารย์ ขอบคุณน่ะค่ะ

วันอังคารที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่1

   บันทึกอนุทินครั้งที่1

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมกับเด็กปฐมวัย

วันพฤหัสบดี ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 08.30-12.20


             วันนี้เป็นสัปดาห์แรกที่เข้าสู่เนื้อหาในการเรียน อันดับแรกวันนี้อาจารย์เล่าประสบการณ์

ที่ไปทําห้องเรียนใหม่ที่ต่างจังหวัดให้ฟังทั้งสนุกและตื่นเต้นและยังมีสาระดีๆแฝงอยู่ในการเล่า

ประสบการณ์ครั้งนี้ ยิ่งทําให้ดิฉันตื่นเต้นอยากไปจัดกิจกรรมเหมือนพี่ๆ

            ต่อมาอาจย์ให้ใบงานเพื่อถามความรู้เดิมของวิชาการศึกษาเด็กพิเศษ

ชื่อโรคของเด็กพิเศษ

   

  • เด็กออทิสติก    เป็นเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติ
  • เด็กดาวน์ซินโดรม      เกิดจากพันธุกรรม โดยที่โครโมโซม คู่ที่ 21 มีความผิดปกติ
  • เด็กสติปัญญาเลิศ     เป็นเด็กที่มีพัฒนาการเจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กวัยเดียวกัน

  • เด็ก ซี.พี.    (โรคสมองพิการ) สาเหตุไม่แน่ชัด เป็นโรคที่สมองพิการถาวร แต่จะ
  • เป็นเด็กที่มีไอคิวเท่าเด็กปกติ
  • เด็กสมาธิสั้น  มีความผิดปกติของการเจริญเติบโตของระบบประสาท
  • แอล ดี  เกิดจากกรรมพันธ์ หรือมีความผิดปกติทางสมอง

          การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมกับเด็กปฐมวัย สําหรับดิฉัน คิดว่ามีความ

สําคัญอย่างยิ่งเพราะในอนาคตเด็กพิเศษ เค้าต้องมีพัฒนาการที่ดีขึ้นเพื่อที่จะช่วยเหลือตัวเอง

ได้ในเรื่องเล็กน้อยๆเช่น การกินข้าว การเข้าห้องนํ้า ที่สําคัญอีกอย่างคือผู้ปกครองต้องรู้ว่าลูก

ของท่านมีความบกพร่องในด้านใดต้องรีบปรึกษาคุณหมอและคุยกับอาจารย์ที่สอนเด็กเพื่อ

หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา

 ต่อมาคือกิจกรรมการร้องเพลง

เพลงดื่มนม
             
             นมเป็นอาหารดี มีคุณค่าต่อร่างกาย

               ดื่มแล้วชื่นใจ   ร่างกายแข็งแรง

            ยังมีนมถั่วเหลือง ดื่มได้ดีและไม่แพง

            ดื่มแล้วชื่นใจ      ร่างกายแข็งแรง




   การประยุกต์และนําไปใช้
            
       สามารถนําเพลงมาจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้และยังใช้เพลงมาเป็นสื่อในการเรียนการ

สอนได้อีกหรือนําไปใช้กับเด็กพิเศษจะทําให้เค้ามีพัฒนาการด้านอารมณ์ดีขึ้น

       การประเมินผล
ตนเอง  ตั้งใจเรียนและทํากิจกรรมการร้องเพลงกับเพื่อน และจากการที่อาจารย์นําใบงาน

มาให้ทํายิ่งทําให้เราต้องขยันเรียนให้มากกว่านี้เพราะในบางเรื่องที่เรียนมาแล้วกับทําจํา

ไม่ได้ทําไม่ได้ยิ่งอาจารย์เฉลยข้อสอบยิ่งทําให้รู้สึกแย่กว่าเดิม

เพื่อน  วันนี้เพื่อนๆตั้งใจเรียนค่ะเพราะว่ามีน้อยกว่าเทอมที่แล้วเสียงเลยไม่ค่อยดัง
อาจารย์
             วันนี้อาจารย์น่ารักค่ะและยังใจดีมาเล่าประสบการณ์ที่ไปจัดกิจกรรมและทําห้อง

สมุดให้โรงเรียนที่ต่างจังหวัดขอบคุณน่ะค่ะอาจารย์